ปัจจัยทั่วไปทางร่างกาย (systemic factors) จากการได้รับสารอาหาร การทำงานของต่อมไร้ต่อมและเมตาบอลิสมของร่างกายที่ไม่สมดุล หรือใช้งานนานเกินไปขาดการพักผ่อน (nutrition, neuroendocrine, metabolism) 3. ปัจจัยทางจิตใจ (psychological factors) จากภาวะซึมเศร้าวิตกกังวล การใช้ชีวิต ที่เร่งรีบ จุดเด่นของโรคนี้ 1. คลำพบ จุดกดเจ็บเฉพาะ 2. ปวดร้าวไปบริเวณอื่น (referred pain) ซึ่งมีบริเวณที่ร้าวกระจายโดยเฉพาะ คลำตามเส้นใยกล้ามเนื้ออาจพบ "แถบกล้ามเนื้อ" (taut band) 3. เมื่อออกแรงกด (snapping palpation) ที่จุดเจ็บเฉพาะ อาจพบการกระตุกของ กล้ามเนื้อเฉพาะที่ (local twitch response; LTR) 4. เมื่อกดถูกจุดเจ็บเฉพาะ ผู้ป่วยอาจรู้สึกปวดมากจนทำให้ผู้ป่วยเคลื่อนหนี (jump sign) การแยกระหว่าง จุดกดเจ็บเฉพาะ (trigger point) และ จุดกดเจ็บ (tender point) คือ จุดกดเจ็บเฉพาะ มีลักษณะ เมื่อกดถูกจุดที่เจ็บผู้ป่วยจะรู้สึกอาการเจ็บนั้นร้าวกระจายไปที่อื่น อาจมีการกระตุกของกล้ามเนื้อเฉพาะที่ ขณะที่จุดกดเจ็บ ผู้ป่วยจะรู้สึกเจ็บบริเวณที่ถูกกด แต่ไม่ร้าวกระจายไปที่อื่น จุดกดเจ็บเฉพาะ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. จุดกดเจ็บเฉพาะ ที่มีอาการ (activc TrP) ซึ่งเป็นเหตุให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ด้วย อาการปวดตั้งแต่เล็กน้อยจดถึงปวดอย่างรุนแรง 2.

สาเหตุของการเกิด "ผังผืดรัดเส้นประสาท" เกิดจากอะไร? มาฟังจากปากคุณหมอใน "สวัสดีคุณหมอ" - YouTube

กลุ่มอาการปวดจากพังผืดกล้ามเนื้อ เป็นกลุ่มอาการที่มีลักษณะปวดอันเนื่องจากมี "จุดกดเจ็บเฉพาะ" (Trigger point; TrP) ในกล้ามเนื้อ: ลักษณะของโรค 1. อาการและอาการแสดงทางคลินิก - มีจุดกดเจ็บเฉพาะ - ลักษณะปวด เป็นแบบหนักตื้อ (dull pain) ปวดล้า (soreness) และตำแหน่งอยู่ลึก - ความรุนแรงของการปวด มีตั้งแต่เล็กน้อยจนถึงปวดมาก หรือปวดมากจนมีปัญหาในชีวิตประจำวัน - อาการปวดขณะพักหรือออกกำลังกาย - ตำแหน่งที่ปวด ไม่จำเป็นต้องพบทั้งสองข้างของร่างกาย (non symmetry) 2. การตรวจร่างกาย - ด้านกำลังของกล้ามเนื้อ (motor) อาจพบมีกล้ามเนื้ออ่อนแรง กล้ามเนื้อหดสั้น แข็ง เกร็ง ทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวได้น้อยลง - ด้านความรู้สึก (sensory) อาจพบชาตามบริเวณที่เกิดโรค ด้านประสาทอัตโนมัติ (ANS) เช่น มีเหงื่อออกผิดปกติ น้ำตาไหล น้ำมูกไหล น้ำลายไหลมากผิดปกติ มึนงง เสียงดังในหู เป็นต้น - จากความปวดทำให้ผู้ป่วยเกิดปัญหาการนอนหลับตามมาได้ สาเหตุของโรค แบ่งเป็น 3 ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค ดังนี้ 1. ปัจจัยจากกลไกทางกระดูก กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น (mechanical factors) จาก การที่ร่างกายไม่สมดุลแต่กำเนิด การได้รับการบาดเจ็บ หรือ อิริยาบถในชีวิตประจำวัน เช่น ท่านั่ง ท่ายืน ท่าของการทำงานที่ไม่ถูกต้อง เป็นต้น ทำให้กล้ามเนื้อใช้งานในท่าไม่ถูกต้อง ใช้งานไม่สมดุล หรือ ใช้งานมากเกินไป ขาดการพักผ่อน (bone length, muscle tension, posture, overuse) 2.

  1. Audi tt 45 tfsi ราคา 2019
  2. ห้อง พัก ราย วัน พิษณุโลก ราคา ถูก
  3. พระกรุ : พระซุ้มร่มโพธิ์ กรุวัดมหาธาตุ จ.เพชรบูรณ์ ชินเงิน
  4. 1 6 60 ตรวจ หวย ล่าสุด
  5. Iphone no song ใน รถ song
  6. อ เล็ก ซ์ ซ ง

Ask Expert ถาม - ตอบ ตอน : โรคมือชาจากผังผืดและนิ้วล็อค - YouTube

ใบ ลดหย่อน ภาษี กบ ข

นารีสนทนา : "โรคพังผืดทับเส้นประสาท" ภัยเงียบจากพฤติกรรมเคยชิน (7 มี.ค. 61) - YouTube

สาเหตุของการเกิด "ผังผืดรัดเส้นประสาท" เกิดจากอะไร? มาฟังจากปากคุณหมอใน "สวัสดีคุณหมอ" - YouTube

มีอาการปวดเฉพาะบริเวณ (Regional pain complaint) 2. มีอาการปวดหรืออาการอื่นที่ร้าวกระจายมาจากจุดกดเจ็บเฉพาะ (pain complaint or altered sensation in the expected distribution of referred pain from a myofascial TrP) 3. คลำพบลำกล้ามเนื้อ ในกล้ามเนื้อที่เป็นต้นเหตุ (Taut band palpable in an accessible muscle) 4. ตรวจพบจุดกดเจ็บชัดเจนสุด 1 จุด ในลำกล้ามเนื้อ (Exquisite spot tenderness at 1 point along the length of the taut band) 5. ตรวจพบการจำกัดพิสัยของการเคลื่อนไหว (Some degree of restricted range of motion, when measureable) เกณฑ์ย่อย 3 ข้อ ได้แก่ 1. เกิดอาการปวด เมื่อกดถูกจุดกดเจ็บ (Pain complaint reproduced by pressure on the tender spot) 2. มีการกระตุกของกล้ามเนื้อเฉพาะที่ เมื่อถูกกระตุ้น (A local twitch response) 3. อาการปวดลดลงเมื่อยืดกล้ามเนื้อหรือฉีดยาเข้าจุด (Relief of the pain by stretching or injecting) นอกจากนี้การวัดความไวของการเจ็บปวดต่อแรงกด (pressure pain sensitivity) โดยใช้เครื่องวัดระดับความปวด (Dolorimeter) เป็นวิธีหนึ่ง ซึ่งยืนยันจุดกดเจ็บที่ผิดปกติ รวม ทั้งที่ใช้เปรียบเทียบผล ก่อนและหลังรักษา ซึ่งถ้าการรักษาได้ผล ความทนทานต่อแรงกด (pressure threshold) จะเพิ่มขึ้น 3 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร การวัดโดยวิธีนี้ยังไม่ได้ถูกนำมาใช้ทางเวชปฏิบัติ การรักษา 1.