การเก็บ EDTA BLOOD (หลอดจุกสีม่วง) EDTA: เป็นสารป้องกันการแข็งตัวของเลือด ซึ่งเหมาะสมสำหรับการตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยา เช่น CBC, ดูลักษณะของเม็ดเลือด หรือ Hb typing เป็นต้น ปริมาณที่ใช้: 3 ml (ตามขีดหรือเครื่องหมายระบุไว้) การเก็บสิ่งส่งตรวจ: ปิดฝาหลอดให้สนิท และผสมให้เข้ากัน โดยการพลิกคว่ำหลอด กลับไป-มา 8-10 ครั้ง และนำส่งภายใน 2 ชม. (หากรอส่ง ควรเก็บในตู้เย็นช่องธรรมดา แต่ไม่ควรเกิน 4 ชม. ) การเก็บ Sodium fluoride (NaF)(หลอดจุกสีเทา) NaF: เป็นสารเพื่อป้องกันการใช้น้ำตาล (Anti glycolysis) ของเม็ดเลือดเหมาะสำหรับการตรวจวิเคราะห์ เช่น FBS, Blood alcohol เป็นต้น ปริมาณที่ใช้: 2-3 ml (ตามขีดหรือเครื่องหมายระบุไว้) การเก็บสิ่งส่งตรวจ: ปิดฝาให้สนิท และผสมให้เข้ากัน โดยการพลิกคว่ำหลอด กลับไป-มา 8-10 ครั้ง และนำส่งห้องปฏิบัติการทันที(หากรอ ส่งควรเก็บในตู้เย็นช่องธรรมดา แต่ไม่ควรเกิน 2 ชม. ) การเก็บ Heparin Blood (หลอดจุกสีเขียว) Heparin: เป็นสารป้องกันการแข็งตัวของเลือดสำหรับการตรวจวิเคราะห์พิเศษบาง ชนิดที่ระบุไว้ ปริมาณที่ใช้: ใส่เลือดให้ถึงขีดที่ทำเครื่องหมายไว้พอดี (ห้ามใส่เกินหรือขาด) การเก็บสิ่งส่งตรวจ: ปิดฝาให้สนิท และผสมให้เข้ากัน โดยการพลิกคว่ำหลอด กลับไป-มา 8-10 ครั้งและนำส่งภายใน 1 ชม.

การเก็บสิ่งส่งตรวจ covid 19

  • สยาม คู โบ ต้า อุตสาหกรรม 20 อัตรา
  • โต โย ต้า ขับเคลื่อน 4 ล้อ มือ สอง
  • การเก็บสิ่งส่งตรวจ covid 19
  • สมัคร งาน toyota boshoku asia co ltd
  • Two point hospital ภาษา ไทย west
  • ถัง กวน ผสม 20 ลิตร ราคา
  • About medical technology: การเก็บสิ่งส่งตรวจ
  • Zombieland 2 double tap เต็ม เรื่อง พากย์ไทย
  • อุปกรณ์ จัด เก็บ ข้อมูล ถาวร ssdharddiskdrive ประเภท m.c

5 – 4 ml) 3. ก่อนถ่ายเลือดใส่ขวดเปิดฝานอกของขวดทิ้ง เช็ดฝาใน (จุกยาง) ด้วย alcohol หรือ iodine ทิ้งไว้ให้แห้ง 4. ใช้วิธี aseptic technique เมื่อถ่ายเลือดลงขวด 5. เขียนชื่อ – นามสกุล H. N. อายุ หอผู้ป่วย ลำดับที่ของขวดและข้อมูลอื่นๆ ที่จำเป็นบนฉลากข้างขวด แต่ไม่ควรเขียนทับ Barcode หรือทำให้ Barcode ฉีกขาด 6. ควรเจาะเลือดก่อนให้ยาต้านจุลชีพ หรือเจาะก่อนให้ยาต้านจุลชีพครั้งต่อไป 7. เจาะเลือด 2 – 3 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 1 ชั่วโมง ถ้าผู้ป่วยหนักที่ต้องให้ยาต้านจุลชีพด่วน อาจเจาะห่างกันในระยะเวลาที่น้อยลง 8. นำส่งทันทีหากไม่สามารถส่งได้ ให้วางที่อุณหภูมิห้องไม่เกิน 1 ชั่วโมง ห้ามเก็บในตู้เย็น เครื่อง incubator สำหรับเพาะเชื้อจากเลือดจะ detect ได้รวดเร็ว ถ้ามีเชื้อเจริญในขวดเพาะเชื้อ เมื่อย้อมสี gram stain แล้วรายงานผลทันทีผ่านระบบคอมพิวเตอร์จากนั้นจะทำการแยกพิสูจน์ชนิดและทดสอบความไวของเชื้อยาต่อไป กรณีไม่มีเชื้อรายงาน "No Growth after 3 day incubation" ขวดจะถูก incubate ต่อไป จนครบ 7 วัน ถ้าเชื้อเจริญขึ้นจะทำเช่นเดียวกับข้างต้น เมื่อครบ 7 วัน ไม่มีเชื้อขึ้นรายงาน "No Growth after 7 days incubation" 2.

1-0. 5% เป็นเวลาอย่างน้อย 10 นาที ของมีคม ให้แยกของมีคมต่างๆ เช่น สไลด์ ใบมีด ภาชนะแก้วแตก/ร้าว เข็มหรือกระบอกฉีดยาที่สวมเข็มเอาไว้โดยไม่มีปลอก ใส่ภาชนะที่ทนต่อการตำทะลุ และมีฝาปิดมิดชิด ปิดให้สนิทก่อนนำไปทิ้งหรือทำลายเชื้อโดยการนึ่งอัดไอน้ำ หรือใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ ไม่ควรบรรจุของมีคมในภาชนะที่ทนต่อการตำทะลุมากเกิน 3 ใน 4 ของปริมาตรภาชนะ สงวนลิขสิทธิ์ • Copyright © Department of Microbiology, Faculty of Medicine Siriraj Hospital. All rights reserved.

ผสมเลือดให้เข้ากับสารกันเลือดแข็งโดยกลับหลอดไปมา 5 - 10 ครั้ง ใช้สำหรับตรวจ HbA1C หมายเหตุ: 1. การตรวจ Blood gas ต้องใช้ heparin เป็น preservative ต้องรีบนำส่งห้องปฏิบัติการทันทีพร้อมแช่เย็น ขณะส่ง Body Fluids เช่น CSF, Pleural fluid, Peritoneal fluid เป็นต้น เมื่อเก็บแล้วควรรีบนำส่งห้องปฏิบัติการ โดยไม่ต้องใส่สาร preservative 2. สำหรับ ผู้ป่วยโรคไต แนะนำให้ใช้ Tube Lithium Heparin (ฝาสีเขียว) สำหรับ Labทุกรายการที่ไม่ได้ ระบุ ห้ามใช้ Tube ดังกล่าว การเก็บปัสสาวะ ทางเคมีคลินิกมี 2 แบบดังนี้ void urine ถ่ายครั้งเดียวใส่ถ้วยพลาสติกมีฝาปิดไม่ใส่สาร preservative ส่งทันที (ตามรายละเอียด หัวข้อการเก็บปัสสาวะ) urine specimens ปัสสาวะที่เก็บเป็นช่วงเวลา เช่น 24 hrs. urine มีขั้นตอนปฏิบัติดังนี้ •แนะนำผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะทิ้งไปก่อนหลังจากตื่นนอนในตอนเช้าพร้อมจดบันทึกเวลาในขณะนั้นไว้ หลังจากนั้นจึงเริ่มเก็บปัสสาวะในช่วงต่อมาจนครบ 24 ชั่วโมง การเก็บสิ่งส่งตรวจทางด้านโลหิตวิทยา (Hematology) 1. EDTA Blood Tube (ฝาสีม่วง): เจาะเลือดประมาณ 2 – 3 มล.

การ เก็บ สิ่ง ส่ง ตรวจ เลือด จาก

กรณีเก็บน้ำอสุจิ(Sperm) มาจากบ้านควรนำส่งห้องปฏิบัติการภายใน 30 นาที เพราะหากทิ้งไว้นานจะทำให้อสุจิ(Sperm)เคลื่อนไหวช้าลงหรือตายได้(ในกรณีนี้ผู้ตรวจจะไม่สามารถสังเกตระยะเวลาการละลายตัวของน้ำอสุจิได้(Sperm))ได้ หากไม่สามารถส่งได้ทันภายในเวลาดังกล่าวแนะนำให้ผู้ป่วยมาเก็บที่โรงพยาบาล 8. การนำส่งห้องปฏิบัติการให้นำส่งภายใต้อุณหภูมิ 20-40 องศาเซลเซียส หรือ ที่อุณหภูมิห้องทั่วๆไป ห้าม แช่เย็น การเก็บสิ่งส่งตรวจทางด้านจุลชีววิทยา (Microbiology) 1. การเพาะเชื้อจากเลือด ใช้เครื่องอัตโนมัติสำหรับตรวจหาเชื้อจากเลือด ขวดใส่เลือดสำหรับเพาะเชื้อเก็บที่อุณหภูมิห้อง มี 2 ชนิด คือ •ผู้ใหญ่เจาะ เลือด 5 – 10 ml. ใส่ขวด BacT / Alert FA (จุกสีเขียว) •เด็ก (ผู้ใหญ่ที่เจาะเลือดยาก) เจาะเลือด 0. 5 – 4 ml. ใส่ขวด BacT / Alert PF (จุกสีเหลือง) ข้อปฏิบัติในการเก็บและส่งตัวอย่างจากเลือด 1. ทำความสะอาดบริเวณที่เจาะเลือดด้วย 1 - 2% betadine แล้วใช้สำลีชุบ 70% isopropyl หรือ ethyl alcohol เช็ดออกควรปล่อยให้บริเวณที่เช็ดแห้งก่อนเจาะเลือดหากผู้ป่วยแพ้ iodine ให้ใช้ 70% alcohol เช็ดสองครั้ง 2. เจาะเลือดใส่ขวด BacT / Alert culture bottle ตามขนาดที่เหมาะสม คือ ขวดชนิด Aerobe culture bottle สำหรับผู้ใหญ่หรือเด็กโต (จำนวนขวดละ 5 – 10 ml) และเด็กเล็กใช้ Pedi – BacT – Aerobe culture bottle (จำนวนขวดละ 0.

ข้อแนะนำการเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อเพาะเชื้ออื่นๆ 2. 1. สิ่งส่งตรวจจากอวัยวะสืบพันธุ์ (Urethral, Vaginal) CSF, Body fluids เก็บที่อุณหภูมิห้องไม่เกิน 1 ชั่วโมง ห้ามเก็บในตู้เย็น 2. 2. ปัสสาวะ เก็บแล้วนำส่งทันที ถ้าส่งไม่ได้ให้เก็บในตู้เย็น ห้ามทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องเกิน 2 ชั่วโมง โดยเด็ดขาด 2. 3. เสมหะ (sputum) และสิ่งส่งตรวจจากทางเดินหายใจ (lung biopsy, aspirate, bronchial wash, throat swab, nasophapharygeal swab) เก็บแล้วนำส่งทันที ถ้าไม่สามารถส่งได้ทันที ให้เก็บในตู้เย็น 2. 4. หนอง แผล ฝี นำส่งทันที ถ้าไม่สามารถส่งได้ทันที ให้เก็บในตู้เย็น 2. 5. อุจจาระ และ rectal swab เก็บแล้วนำส่งทันที ถ้าไม่สามารถส่งได้ทันที ให้เก็บในตู้เย็น การเตรียมสิ่งส่งตรวจ GMS โดยป้ายสิ่งส่งตรวจลงบนสไลด์ fix ด้วย 95% alcohol ทันทีหรือปล่อยแห้ง กรอกข้อมูลในใบส่งตรวจให้ครบถ้วนชัดเจน โดยเฉพาะชื่อ H. หอผู้ป่วยและตำแหน่งอวัยวะที่ส่งตรวจ พร้อมข้อมูลทางคลินิกที่สำคัญเกี่ยวกับพยาธิสภาพที่คาดว่าจำเป็น เพื่อประกอบการวินิจฉัย ***การเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อเพาะเชื้อรา ให้นำสิ่งส่งตรวจใส่ขวด sterile ส่งที่ห้องปฏิบัติการทันที***

(หากรอส่ง ควรเก็บในตู้เย็นช่องธรรมดา แต่ไม่ควรเกิน 2 ชม. ) การเก็บ Clot blood (หลอดจุกสีแดง) ไม่ใส่สารใดๆ เหมาะสำหรับการส่งตรวจทาง ภูมิคุ้มกันวิทยา, เคมีคลินิก ปริมาณที่ใช้: เจาะให้เพียงพอสำหรับการทดสอบ ประมาณ 10 ml การเก็บสิ่งส่งตรวจ: ปิดฝาให้สนิท (ห้ามเขย่า) และนำส่งห้องปฏิบัติการทันที. )

การติดป้ายชื่อผู้ป่วยบนหลอดเก็บเลือด ปิด sticker เป็นแนวตรง ไม่ม้วนเกลียวรอบหลอดเก็บเลือด เมื่อปิด sticker แล้วยังมองเห็นแถบสีที่บอกชนิดของหลอดเก็บเลือดและเว้นช่องว่างให้เห็นขีดบอกระดับเลือดที่ต้องเจาะ และระดับเลือดที่ใส่ลงมาในหลอด ถ้า sticker ยาวเกินหลอดเก็บเลือด ให้ตัดส่วนที่เกินออกได้ โดยให้เหลือส่วนที่เป็น HN. และ ชื่อ หรือจะพับ sticker ส่วนที่เกินเข้าหากันก็ได้ Test การทดสอบและการเลือกใช้หลอดเก็บเลิอด (ค้นหา Test ที่ต้องการ) ชนิดหลอดเก็บเลือดและลำดับการใส่หลอด Hemoculture Sodium citrate Clotted blood Lithium heparin EDTA NaF 1. ตรวจดูว่าป้ายชื่อผู้ป่วย ที่ติดที่ใบขอตรวจ และ หลอดเก็บเลือด ตรงกัน หรือไม่ 2. ถามชื่อและนามสกุลผู้ป่วยทุกครั้งเมื่อจะเจาะเลือด 3. ไม่ควรรัดแขนผู้ป่วยนานเกิน 1 นาที เนื่องจากอาจทำให้ค่าของการตรวจบางอย่างเปลี่ยนแปลงไป 4. ในกรณีที่มีการส่งเลือดหลายหลอด ลำดับในการใส่เลือดลงหลอด ให้ปฏิบัติดังนี้ ลำดับของหลอดเก็บเลือด จำนวนครั้งที่เขย่า ( mix) 1. tube hemoculture 3-5 ครั้ง 2. tube sodium citrate (จุกสีฟ้า) 3-4 ครั้ง 3. tube clotted blood (จุกสีแดง) 5 ครั้ง 4. tube lithium heparin (จุกสีเขียว) 8 ครั้ง 5. tube EDTA (จุกสีม่วง) 6. tube sodium fluoride (จุกสีเทา) 5.

  1. หวย ไทยรัฐ 16 11 63 puy
  2. ที่นอน นุ่น 6 ฟุต 3 ท่อน word
  3. คอน โด ปาล์ม พา วิ ล เลี่ยน เทพารักษ์ pantip